Lecturer [ผศ.ดร. ธงชัย คล้ายคลึง]

ผศ.ดร. ธงชัย คล้ายคลึง
Asst.Prof. Dr. Thongchai Klayklueng
kkthongchai {at} gmail.com
ภฟก.19241
  • วศ.ด.ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วศ.ม.ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วศ.บ.ไฟฟ้า-ไฟฟ้ากำลัง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Power System Protection, Power System Analysis, Insulation and coordination, Power Monitoring and Control, Programmable Logic Controller

บทความวิจัย

2019

ธนพล เชาว์ดี, นราธิวัฒน์ธรรมเจริญ, กิตติวงค์ สุธรรมโน, พันธ์พงศ์ อภิชาตกุล และธงชัย คล้ายคลึง, การวิเคราะห์ผลกระทบจากการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าในระบบแรงดันต่ำเฟสเดียวในบ้านพักอาศัย, การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ESTACON-2019 )ครั้งที่ 10, วันที่ 30 สิงหาคม 2562 ณ อาคารขวัญแก้ว มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา, หน้า 662-668

 

2018

T Klayklueng, S Dechanupaprittha, Performance analysis of future PEA distribution networks under high penetration of PEV home charging using the Monte Carlo method, IEEJ Transactions on Electrical and Electronic Engineering Journal Vol.13 (12), 2018, P.1682-1689, Published online in Wiley Online Library (wileyonlinelibrary.com), DOI:10.1002/tee.22785, Published by John Wiley & Sons, Inc.

 

อารียา ชนะภัย, อรรภพล สติภา, ประสิทธิ์ สินขุนทด, ธีรวัฒน์ เจาะดี และธงชัย คล้ายคลึง,ระบบการคัดแยกวัตถุอัตโนมัติบนสายพานล าเลียงด้วยเทคนิควิธีการซีเอเอสซี,  การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ESTACON-2018)ครั้งที่ 9, วันที่ 7 กันยายน 2561 ณ อาคาร 50 ปี เทคนิค ไทย-เยอรมัน ขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น , ขอนแก่น,หน้า 205-209

 

เจนจิรา เสาทองหลาง, วัชรากร สุขเจริญ, กฤษฎา สาวิสิทธิ์ และธงชัย คล้ายคลึง, การออกแบบสร้างชุดทดลองการควบคุมระดับน้ำด้วยโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์และทัชสกรีน, การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ESTACON-2018)ครั้งที่ 9, วันที่ 7 กันยายน 2561 ณ อาคาร 50 ปี เทคนิค ไทย-เยอรมัน ขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น, ขอนแก่น,หน้า 210-214

 

2017

Thongchai klayklueng, Krittidet Buayai and Sanchai Dechanupaprittha, Mitigation strategies of Distribution Performance Indices due to PEVs Charging on Low Voltage Distribution System approach,Proceedings of the 9th Conference of Electrical Engineering Network of Rajamangala University of Technology 2017 (EENET 2017), 2-4 May 2017, K.P. Grand Hotel,Chanthaburi, P.112-116

 

นาวี กรอกงูเหลือม, ณรงเดช นามโยธา, ธงชัย คล้ายคลึง และ พันธ์พงศ์ อภิชาตกุล, การพัฒนาระบบติดตามการใช้พลังงานไฟฟ้าเพื่อรองรับการตัดจ่ายโหลด, การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสถาปัตยกรรมศาสตร์(ESTACON-2017) ครั้งที่ 8 , วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ขอนแก่น,หน้า 248-252

 

2015

T Klayklueng, S Dechanupaprittha and P Kongthong, Analysis of unbalance Plug-in Electric Vehicle home charging in PEA distribution network by stochastic load model, 2015 International Symposium on Smart Electric Distribution Systems and Technologies (EDST-2015), Publisher IEEE, P.394-398

 

T Klayklueng, S Dechanupaprittha, Performance analysis of future PEA distribution network under high penetration of PEVs home charging, 2015 IEEE Innovative Smart Grid Technologies-Asia (IEEE ISGT-ASIA-2015), Publisher IEEE, P.1-5

 

T Klayklueng, S Dechanupaprittha, Impact analysis on voltage unbalance of plug-in electric vehicle home charging in thailand distribution system, 23rd International Conference on Electricity Distribution, Lyon, France (CIRED 2015),15-18 June 2015

 

T Klayklueng, S Dechanupaprittha, Impacts of Low Voltage PEVs Single Phase Charging on Electrical Distribution Network, Applied Mechanics and Materials Journal, Vol.781, 2015, P.316-320,Publisher Trans Tech Publications Ltd

 

2014

T Klayklueng, S Dechanupaprittha, Impact analysis on voltage unbalance of EVs charging on a low voltage distribution system, 2014 International Electrical Engineering Congress (iEECON-2014),Publisher IEEE, P.1-4

 

2013

T Klayklueng, S Dechanupaprittha, Impact Analysis of EVs Charging in Low Voltage System using DIgSILENT, The 36th Electrical Engineering Conference (EECON36), 11-13 December 2013, Kanchanaburi, Thailand, P. 61-64

 

2012

Thongchai klayklueng, Sanchai Dechanupaprittha and Krittidet Buayai, The Effect of inertia Weight Parameter in Particle Swarm Optimization Program for Solving Smooth Cost Function Economic Dispatch, Proceedings of the 4th Conference of Electrical Engineering Network of Rajamangala University of Technology 2012 (EENET 2012), 3-5 April 2012, Grand Paradise Hotel Nong Khai, Thailand, P. 285-289

 

2010

ธงชัย คล้ายคลึง, พิทักษ์  แก้วกลาง, และจิรวัฒน์ สุกวัน, การวิเคราะห์สมรรถนะการป้องกันฟ้าผ่าระบบสายจำหน่ายระดับแรงดัน 22  กิโลโวลต์ สถานีไฟฟ้าย่อยครบุรี  จังหวัดนครราชสีมา, การปรุชุมเครือข่ายวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 2  (EENET 2010). 5-6 ก.พ. 2553 ณ. มทร. ล้านนา เชียงใหม่.

 

2009

Thongchai Klayklueng, “Energy Saving Strategy for RMUTI, Thailand”, South East Asia Energy Efficiency University Challenge 2009, 3-4 November 2009, Atma Jaya University, Jakarta, Indonesia.

 

2008

ธงชัย  คล้ายคลึง, เครื่องสร้างก๊าซโอโซนโดยวิธีคอโรนาดิจชาร์จสำหรับการบำบัดน้ำเสีย, วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน  นครราชสีมา ,(RMUTI JOURNAL) ฉบับที่ 2, ปี 2551.           

           

ธงชัย  คล้ายคลึง,วิสุทธิ์  ธิติธรรมมงคล, มงคล  ด่านบำรุงตระกูล และสุทธิกาญจน์ วีระเสถียร. กรณีศึกษาการกำหนดค่าเซทติ้งรีเลย์ระยะทางในระบบส่งจ่ายระดับแรงดัน 115 กิโลโวลต์เพื่อรองรับการจ่ายไฟแบบลูปปิดของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นครราชสีมา, การปรุชุมเครือข่ายวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 1 (EENET 2008). 18-21 พ.ย. 2551 ณ. มทร. ธัญบุรี

 

ธงชัย  คล้ายคลึง, รัตนะ จิตรกล้า และจีระศักดิ์ พึ่งโค. 2551. ระบบตรวจวัดและรายงานการใช้พลังงานไฟฟ้าผ่านระบบเครือข่ายสำหรับกิโลวัตต์อาวมิเตอร์จานเหนี่ยวนำแบบเฟสเดียว, การประชุมเครือข่ายวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 1 (EENET 2008). 18- 21 พ.ย. 2551 ณ. มทร. ธัญบุรี

 

2007

ธงชัย  คล้ายคลึง, ปัญหาทางด้านเทคนิคสำหรับการจัดลำดับเวลาการทำงานของอุปกรณ์ป้องกันให้สัมพันธ์กันของรีเลย์กระแสเกิน-ฟิวส์สำหรับผู้ใช้ไฟที่อยู่ใกล้สถานีไฟฟ้าย่อยในระบบจำหน่าย, การประชุมวิชาการราชมงคลอีสานวิชาการ ครั้งที่ 1, ปี 2550.

 

 

บทความวิชาการ

2016

ธงชัย คล้ายคลึง, การควบคุมและการป้องกันอันตรายจากประจุไฟฟ้าสถิต, วารสาร Industrial Technology Review ฉบับที่ 281 เมษายน 2559, หน้า 72-76

 

2006

- การตรวจสอบเชิงป้องกันสำหรับแผงสวิทช์แรงดันต่ำ, วารสาร Industrial Technology Review, ฉบับที่ 153,กรกฎาคม 2549

 

          - หลักการป้องกันกระแสเกินสำหรับคาปาซิเตอร์แบงค์ในโรงงานอุตสาหกรรมและระบบจำหน่าย, วารสาร Industrial Technology Review. ฉบับที่  155 กันยายน  2549.

 

ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัล

 

  1. T Klayklueng, S Dechanupaprittha, Performance analysis of future PEA distribution networks under high penetration of PEV home charging using the Monte Carlo method, IEEJ Transactions on Electrical and Electronic Engineering Journal Vol.13 (12), 2018, P.1682-1689, Published online in Wiley Online Library (wileyonlinelibrary.com), DOI:10.1002/tee.22785, Published by John Wiley & Sons, Inc.
  • Top Downloaded Paper 2018-2019, Wiley Online Library, IEEJ Transactions on Electrical and Electronic Engineering 

 

  1. เครื่องสร้างก๊าซโอโซนโดยวิธีการโคโรน่าดิสชาร์จสำหรับการบำบัดน้ำเสีย,
  • รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง “การประกวดงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์  ปี พ.ศ. 2551”, คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.อีสาน, 15  กันยายน  2551 
  • รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  “การประกวดผลงานวิจัยประจำปี พ.ศ. 2552”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, 15  กุมภาพันธ์  2552

           

  1. กรณีศึกษาการกำหนดค่าเซทติ้งรีเลย์ระยะทางในระบบส่งจ่ายระดับแรงดัน 115  กิโลโวลต์  เพื่อรองรับการจ่ายไฟแบบลูบปิด  ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาค 2 นครราชสีมา
  • บทความวิจัยดีเด่น(Paper Award)  สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 1 (EENET-2008) ณ. มทร.ธัญบุรี, 20  พฤศจิกายน  2551

 

  1. การวิเคราะห์สมรรถนะการป้องกันฟ้าผ่าระบบสายจำหน่ายระดับแรงดัน 22  กิโลโวลต์สถานีไฟฟ้าย่อยครบุรี  จังหวัดนครราชสีมา”
  • บทความวิจัยดีเด่น(Paper Award) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 3 (EENET-2010) ณ. มทร. ล้านนา เชียงใหม่,  6  กุมภาพันธ์  2553

 

การบริการวิชาการ

2016

วิทยากร การอบรมสัมมนาการป้องกันระบบไฟฟ้า (Power System Protection and Co-ordination)ให้กับพนักงานของบริษัทฯ บริษัทศิลา เทคโนโลยี จำกัด, อาคารเลขที่ 59/95 ซอยนิมิตใหม่ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพฯ , วันที่ 8-9 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559

 

2010

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สายอาจารย์มหาวิทยาลัย ตัดสินการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศของประเทศไทย ในโครงการ นวัตกรรมการอนุรักษ์พลังงานระดับอุดมศึกษา (Schneider Electric Challenge University Initi@tive 2009), วันที่ 5 กุมภาพันธ์  2553 ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (อาคารศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น 9) 

 

2009

Judging, South East Asia Energy Efficiency University Challenge 2009, 3-4 November 2009, Atma Jaya University, Jakarta, Indonesia.

 

2008

- วิทยากรบรรยายหลักสูตร “เทคโนโลยีการตรวจวัดพลังงานไฟฟ้าสำหรับการบริหารจัดการพลังงาน”  วันที่ 25 ตุลาคม 2551, บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จำกัด จ.สระบุรี

 

- วิทยากรบรรยายหลักสูตร “Basic of Electrical Training” วันที่ 3,10,17,24 สิงหาคม 2551,    ที่บริษัท Takahashi Korat (1995) Co., Ltd

 

2007

- วิทยากรบรรยาย การจัดทำข้อมูลระบบการตรวจวัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้เป็นดัชนีการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ให้กับคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการประหยัดพลังงานเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครรชสีมา

 

- วิทยากร การสัมมนาเชิงปฏิบัติการการควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิ้ล คอนโทรลเลอร์ SIEMENS S7-300 ให้กับพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด นครราชสีมา

 

 

 

 

2006

- วิทยากรหลักสูตร ระบบการควบคุมในภาคอุตสาหกรรม ในหัวข้อ “ระบบตรวจวัดพลังงานไฟฟ้าผ่านเครือข่าย” ให้กับพนักงานบริษัทเอกชน จัดโดยสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าศูนย์กลางมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ร่วมกับบริษัท Soft &Ware Co., LTD. 

 

- วิทยากรหลักสูตร โปรแกรมวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลังระดับพื้นฐาน และระดับสูง ให้กับอาจารย์ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตภาคพระนครเหนือ จัดโดยบริษัท นีโอ แอคติก จำกัด

 

- วิทยากรร่วมกับบริษัท ชไนเดอร์ (ประเทศไทย) จำกัด, โครงการแข่งขันทักษะด้านการเขียนโปรแกรมควบคุมอัตโนมัติด้วย PLC, Schneider “University Initi@tive” Challenge 2006-2007



Copyright (c) 2022 School of Electrical Engineering  , Rajamangala University of Technology Isan.
All Rights Reserved (c) Design provided by  www.paper4conference.com